วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บทที่ 4  เลขยกกำลัง


        
    การยกกำลัง  คือ การดำเนินการทางคณิตศาสตร์อย่างหนึ่ง  เขียนอยู่ในรูป an   ซึ่งประกอบด้วยจำนวน  คือ  ฐาน  a  และเลขชี้กำลัง  (หรือ กำลัง)  n  การยกกำลังมีความหมายเหมือนการคูณซ้ำๆ กัน  คือ  a  คูณกันเป็นจำนวน  n  ตัว เมื่อ  n  เป็นจำนวนเต็มบวก  อ่านต่อ...



บทที่ 3  จำนวนจริง
    จำนวนจริง   เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
- เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I  :   I = {1,2,3…}
- เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I
- เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I  :  I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…}

- เซตของจำนวนตรรกยะ : เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน  โดยที่ a,b เป็นจำนวนเต็ม  และ b = 0   อ่านต่อ...
บทที่ 2 การให้เหตุผล
    การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive) การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive) คือ การอ้างเหตุผลข้ออ้างที่เป็นข้อมูลปลีกย่อยไปพิสูจน์ ข้อสรุปที่เป็นหลักการทั่วไป ซึ่งผลสรุปที่ได้อาจจะไม่จริงเสมอไป ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล ความคิด หรือประสบการณ์ที่ผ่านมาของผู้ให้เหตุผล

ลักษณะของการให้เหตุผลแบบอุปนัย 1. เป็นการอ้างข้อมูลส่วนย่อย เพื่อไปสรุปข้อมูลส่วนใหญ่ 2. ข้อสรุป (ผล) ให้ข้อมูลกว้างกว่าข้ออ้าง (เหตุ)   อ่านต่อ...
บทที่ 1  เซต

    เซต  เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น  เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9    สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิก  ( element หรือ members )  การเขียนเซตอาจเขียนได้ 2  แบบ 1. การเขียนซตแบบแจกแจงสมาชิก  เขียนสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา  อ่านต่อ